การหล่นของผลแอปเปิ้ลทำให้เกิดคำถามอยู่ในใจของนิวตัน
ว่าแรงของโลกที่ทำให้ผลแอปเปิ้ลหล่นน่าจะเป็นแรงเดียวกันกับแรงที่
"ดึง" ดวงจันทร์เอาไว้ไม่ไปที่อื่นและทำให้เกิดโคจรรอบโลกเป็นวงรี
ผลการคำนวณเป็นสิ่งยืนยัน (อ่านเพิ่มเติม)
วันเสาร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2559
วันศุกร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2559
กฎข้อที่ 2 กฎแห่งความเร่ง
กฎข้อที่ 2 กฎแห่งความเร่ง (ซิกม่า F = Ma) ในตอนที่แล้วเรื่องกฎข้อที่ 1 กฎแห่งความเฉื่อย แรงสมดุลกันไม่มีความเร่ง พอมาตอนนี้เราจะเล่าให้ฟังถึงกรณีที่แรงไม่สมดุล (อ่านเพิ่มเติม)
กฎข้อที่ 1 ของนิวตัน
กฎข้อที่ 1 ของนิวตัน (กฎความเฉื่อย) "วัตถุคงสภาพอยู่นิ่ง
หรือสภาพการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตังในแนวตรง
นอกจากจะมีแรงลัพธ์ซึ่งมีค่าไม่เป็นศูนย์มากระทำต่อวัตถุนั้น" (อ่านเพิ่มเติม)
แรง
แรงมีผลต่อรูปร่าง
และการเคลื่อนที่ของวัตถุ
แรงเดี่ยวสามารถเปลี่ยนความเร็วของวัตถุ
(นั่นคือทำให้วัตถุมีความเร่ง) แรงขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงข้ามกันจะเปลี่ยนรูปร่างหรือขนาดของวัตถุ แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์
มีทั้งขนาดและทิศทาง มีหน่วยเป็นนิวตัน ชนิดของแรงที่สำคัญคือ แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็ก แรงไฟฟ้า และแรงนิวเคลียร์ (อ่านเพิ่มเติม)
ความเร่ง
.คือ ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา เป็นปริมาณ เวคเตอร์ หรืออัตราการเปลี่ยนความเร็ว (อ่านเพิ่มเติม)
อัตราเร็วและความเร็ว
ในขณะที่วัตถุมีการเคลื่อนที่
ได้ระยะทางและการกระจัดในเวลาเดียวกัน และต้องใช้เวลาในการเคลื่อนที่
จึงทำให้เกิดปริมาณสัมพันธ์ขึ้น ปริมาณดังกล่าวคือ อัตราเร็ว
คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา จัดเป็นเปริมาณสเกลลาร์ หน่วยในระบบเอสไอ
มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที ความเร็ว คือ
ขนาดของการกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา จัดเป็นปริมาณเวกเตอร์
ใช้หน่วยเดียวกับอัตราเร็ว (อ่านเพิ่มเติม)
ปริมาณต่างๆของการเคลื่อนที่
ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แนวตรงตำแหน่ง (position) คือ
จุดที่บอกให้ทราบว่าวัตถุหรือสิ่งของ อยู่ทีใดเมื่อเทียบกับจุด (อ่านเพิ่มเติม)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)